วันจันทร์ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
การสื่อสารข้อมูลบนระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การประมวลผลข้อมูล สามารถแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้
ความแตกต่างระหว่างการประมวลผลข้อมูลแบบแบตซ์และแบบเรียลไทม์วิธีการประมวลผล 1. วิธีการประมวลแบบแบตซ์ (Batch Processing) เป็นการประมวลผลโดยเก็บรวบรวมข้อมูลหรือคำสั่งไว้ปริมาณ หนึ่งแล้วจึงนำงานชุดหรือแบตซ์ นั้นส่งเข้าประมวลผลต่อไป วิธีการประมวลผลแบบนี้มีใช้มาตั้งแต่คอมพิวเตอร์ยุคแรก การประมวลผลแบบแบตซ์พิจารณาได้ 2 ด้าน คือ ในด้านของผู้ใช้เครื่องและในด้านของผู้มีหน้าที่ควบคุมเครื่อง ลักษณะงานที่เหมาะสมกับการ ประมวลผลแบบแบตซ์ คือ - งานที่มีข้อมูลส่งเข้าประมวลผลจำนวนมาก จำเป็นต้องมีการรอเพื่อบันทึกข้อมูลลงสื่อข้อมูลคอมพิวเตอร์2. วิธีการประมวลผลแบบออนไลน์ แนวความคิดของการประมวลแบบออนไลน์ (On-Line Processing) มาจากข้อเท็จ จริงที่ว่า หน่วยประมวลผลกลางของเครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็วกว่าหน่วยรับและแสดงผล จึงมีผู้คิดนำเครื่องเทอร์มินัลมาใช้ในการรับและแสดงผลข้อมูลโดยใช้เชื่อม โยงเข้าหับหน่วยประมวลผลกลาง ทำให้การป้อนข้อมูลไม่ต้องบันทึกสื่อข้อมูล สามารถส่งเข้าประมวลผลโดยตรงและผลลัพธ์แสดงผ่านเครื่องเทอร์มินัลได้โดยตรง เช่นกัน การประมวลผลแบบออนไลน์ แบ่งได้เป็น 2 ระบบย่อย คือ
- ระบบเรียล-ไทม์ (Real-time) เป็นระบบออนไลน์ ที่มีลักษณะคล้ายกับไทม์-แชริง แต่แตกต่างกันที่งานที่ประมวลผล เป็นงานเดียวมีผู้ร่วมใช้หลายคน เทอร์มินัลทุกจุดถูกควบคุมด้วยโปรแรกมเดียวกันเพื่อให้เครื่องสามารถติดต่อ กับผู้ใช้ทุก คน จึงมีการแบ่งโปรแกรมเป็นชุดย่อย ๆ ในโปรแกรมชุดย่อยเหล่านี้ทำงานไปพร้อม ๆ กันได้ระบบการประมวลแบบออนไลน์ เหมาะสมกับงานซึ่งมีลักษณะดังต่อไปนี้ งานที่มีข้อมูลส่งเข้าประมวลผลจำนวนน้อย งานที่ไม่มีการปรับปรุงแฟ้มข้อมูลทั้งหมดในแต่ละครั้ง แต่เป็นการปรับปรุงบางรายการเท่านั้น งานที่มีการแสดงผลจำนวนน้อย ไม่มีการพิมพ์รายงานขนาดใหญ่
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น